ข่าวฝากจากไลน์ครับ
เมธเฟอร์รารี่ ถามสื่อนอกตีข่าว"กษัตริย์ไทย"รวยสุดในโลกเจตนาอะไร
ยันทรัพย์สินไม่ใช่ของพระองค์ แต่เป็นของประเทศ"
ประกาศสำคัญทรัพย์สินกษัตริย์:
- ต่อไปนี้ ทรัพย์สิน และหุ้นในบริษัทและธุรกิจต่างๆ
ที่อยู่ในนาม "สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์"
ให้เปลี่ยนเป็นในนาม "วชิราลงกรณ์" เอง
- วชิราลงกรณ์แสดงความจำนงค์ที่จะดูแลกิจการที่ สนง.ทรัพย์สินฯ
เคยถือครองหุ้นอยู่ และต่อไปนี้จะอยู่ในนามเขาเอง โดยใกล้ชิด
- วชิราลงกรณ์ให้ทรัพย์สินฯที่เคยอยู่ในนาม "สนง.ทรัพย์สินฯ"
และต่อไปนี้เปลี่ยนเป็นในนามเขาเอง เสียภาษี
หมายความว่า ต่อไปนี้ หุ้น "สนง.ทรัพย์สินฯ" ในบริษัทอย่าง
ไทยพาณิชย์ และ ปูนซีเมนต์ไทย จะกลายมาเป็นชื่อ "วชิราลงกรณ์" ทั้งหมด
"สำนักงานทรัพย์สินฯ" ถือหุ้นในไทยพาณิชย์ 18.14%
อีกไม่นาน ทั้ง 21.48% ของหุ้นไทยพาณิชย์ จะเป็นในชื่อวชิราลงกรณ์
ส่วนปูนซีเมนต์ไทย ขณะนี้มีหุ้นในนาม "สำนักงานทรัพย์สินฯ" 30%
และในนามวชิราลงกรณ์ 0.76% หมายความว่า ต่อไป 30.76%
จะอยู่ในนามวชิราลงกรณ์ทั้งหมด
ที่ดินสำคัญๆในกรุงเทพ (เช่น ประตูน้ำ, ราชเทวี, สีลม, วิทยุ ฯลฯ
ซึ่งเป็นทั้งที่ตั้งศูนย์การค้า สำคัญๆ ที่เคยมี "เจ้าของที่ดิน" ในนาม
"สำนักงานทรัพย์สินฯ" ต่อไปก็จะมี "เจ้าของที่ดิน"
ในนาม "วชิราลงกรณ์" โดยตรง ...
วชิราลงกรณ์ได้แสดงความจำนงค์ที่จะเข้าดูแลกิจการในนามเขาเอง
โดยใกล้ชิด:
ข่าวฝากจากไลน์ครับ
เมธเฟอร์รารี่ ถามสื่อนอกตีข่าว"กษัตริย์ไทย"รวยสุดในโลกเจตนาอะไร
ยันทรัพย์สินไม่ใช่ของพระองค์ แต่เป็นของประเทศ"
ประกาศสำคัญทรัพย์สินกษัตริย์:
- ต่อไปนี้ ทรัพย์สิน และหุ้นในบริษัทและธุรกิจต่างๆ
ที่อยู่ในนาม "สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์"
ให้เปลี่ยนเป็นในนาม "วชิราลงกรณ์" เอง
- วชิราลงกรณ์แสดงความจำนงค์ที่จะดูแลกิจการที่ สนง.ทรัพย์สินฯ
เคยถือครองหุ้นอยู่ และต่อไปนี้จะอยู่ในนามเขาเอง โดยใกล้ชิด
- วชิราลงกรณ์ให้ทรัพย์สินฯที่เคยอยู่ในนาม "สนง.ทรัพย์สินฯ"
และต่อไปนี้เปลี่ยนเป็นในนามเขาเอง เสียภาษี
หมายความว่า ต่อไปนี้ หุ้น "สนง.ทรัพย์สินฯ" ในบริษัทอย่าง
ไทยพาณิชย์ และ ปูนซีเมนต์ไทย จะกลายมาเป็นชื่อ "วชิราลงกรณ์" ทั้งหมด
"สำนักงานทรัพย์สินฯ" ถือหุ้นในไทยพาณิชย์ 18.14%
อีกไม่นาน ทั้ง 21.48% ของหุ้นไทยพาณิชย์ จะเป็นในชื่อวชิราลงกรณ์
ส่วนปูนซีเมนต์ไทย ขณะนี้มีหุ้นในนาม "สำนักงานทรัพย์สินฯ" 30%
และในนามวชิราลงกรณ์ 0.76% หมายความว่า ต่อไป 30.76%
จะอยู่ในนามวชิราลงกรณ์ทั้งหมด
ที่ดินสำคัญๆในกรุงเทพ (เช่น ประตูน้ำ, ราชเทวี, สีลม, วิทยุ ฯลฯ
ซึ่งเป็นทั้งที่ตั้งศูนย์การค้า สำคัญๆ ที่เคยมี "เจ้าของที่ดิน" ในนาม
"สำนักงานทรัพย์สินฯ" ต่อไปก็จะมี "เจ้าของที่ดิน"
ในนาม "วชิราลงกรณ์" โดยตรง ...
วชิราลงกรณ์ได้แสดงความจำนงค์ที่จะเข้าดูแลกิจการในนามเขาเอง
โดยใกล้ชิด:
เป็นการจัดทำงบประมาณที่มีขนาดรายจ่ายเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง เป็นงบประมาณรายจ่ายสูงถึง 3.3 ล้านล้านบาทสะท้อนบทบาทของภาครัฐที่เพิ่มสูงขึ้นทางเศรษฐกิจ มีการทำขาดดุลงบประมาณสูงถึง 4.5 แสนล้านบาท ควรลดการขาดดุลลงเนื่องจากมีความจำเป็นน้อยลงในการใช้จ่ายเพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจและมีความจำเป็นในการลดความเสี่ยงของวิกฤติฐานะการคลังในอนาคต ต้องมีการบริหารการชำระหนี้สาธารณะให้ดีเพื่อไม่ให้เกิดการกระจุกตัวของการชำระหนี้ในอนาคตจนกระทบสภาพคล่องในอนาคต รายจ่ายประจำยังคงเพิ่มขึ้น 4.7% ขณะที่รายจ่ายเพื่อการลงทุนเพิ่มเพียง 1% สะท้อนยังไม่มีการปฏิรูปโครงสร้างงบประมาณแต่อย่างใดเพราะรายจ่ายเพื่อการลงทุนยังคงมีสัดส่วนเพียงแค่ 22% ซึ่งควรปรับโครงสร้างให้เพิ่มเป็น 30% ของงบประมาณรายจ่ายและต้องทำควบคู่กับการปฏิรูประบบราชการ
รัฐบาล และ สนช ต้องไปแยกแยะให้ได้ว่า โครงการต่างๆที่ปรากฎในงบประมาณโครงการไหนมีความสำคัญ มีความจำเป็นต่อประเทศชาติและประชาชน โครงการไหนเกิดขึ้นตามแรงขับเคลื่อนของกลุ่มผลประโยชน์ทั้งนอกและในระบบราชการ การลงทุนโครงสร้างพื้นฐานทางเศรษฐกิจและโครงการก่อสร้างขนาดใหญ่ทั้งหลายต้องประเมินให้ได้ว่าค่าใช้จ่ายเกินจริงเกินจำเป็นหรือไม่ เพราะมีหลายโครงการในอดีตประสบภาวะขาดทุนและเป็นภาระทางการคลังมาจนถึงทุกวันนี้
เราอาจลดการก่อหนี้สาธารณะเพิ่มเติม หากการจัดทำงบประมาณคำนึงถึงผลลัพธ์ (Result-based Budgeting) คือ หน่วยงานที่ใช้จ่ายเงินต้องรายงานผลลัพธ์ของการทำงานของหน่วยงาน และ การประเมินสัมฤทธิผล โดยมีตัวชี้วัด (Performance Indicator) เช่น ผลลัพธ์ของเงินงบประมาณ 100 ล้านบาทที่จ่ายออกไปที่สามารถวัดได้ทั้งในเชิงปริมาณและคุณภาพ
มีขนาดของงบกลางที่มากขึ้นอย่างชัดเจนสูงถึง 4.68 แสนล้านบาท และงบกลางมักไม่มีรายละเอียดรายการการใช้จ่ายทำให้เงินสาธารณะ (Public Money) อาจใช้จ่ายอย่างไม่มีประสิทธิภาพ รั่วไหลได้ง่ายหรือ
ใช้ไม่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์หรือเป้าหมายได้ หากมีการใช้จ่ายงบก้อนนี้ควรชี้แจงรายละเอียดต่อประชาชนและควรผ่านการพิจารณาโดยรัฐสภาหลังการเลือกตั้งด้วย
การจัดทำงบประมาณที่ขาดการมีส่วนร่วมของผู้แทนประชาชนและประชาชนเนื่องจากสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติไม่ได้มาจากการเลือกตั้งของประชาชน มาจากการแต่งตั้งโดย คสช ทำให้ระบบการคานอำนาจและการตรวจสอบงบประมาณไม่เกิดขึ้น บทบาทในการกลั่นกรองและทักท้วงรัฐบาลในการจัดทำงบประมาณจึงขาดหายไป
การขาดการมีส่วนร่วมของประชาชนและพรรคการเมืองต่างๆที่ต้องทำหน้าที่บริหารประเทศต่อไปหลังการเลือกตั้ง ขาดการเปิดกว้าง การเปิดกว้างให้มีการถกเถียงแลกเปลี่ยนกัน จนเกิด "ฉันทามติ" ในการจัดทำงบประมาณ
ทำให้โดยภาพรวมแล้วการจัดทำงบประมาณปี 2562 ก่อนประเทศไทยกลับคืนสู่ประชาธิปไตยยังไม่ได้อยู่บนพื้นฐานของการมีส่วนร่วม (Participation) ความโปร่งใส (Transparency) ที่เน้นการตรวจสอบถ่วงดุล ความรับผิดชอบ (Accountability) ความชอบธรรมทางการเมือง (Political Legitimacy) เน้นประสิทธิภาพและประสิทธิผล (Efficiency and Effectiveness) ทั้งหมดนี้ เรียกว่า หลักธรรมาภิบาลในการจัดทำงบประมาณให้เป็นไปตามยุทธศาสตร์ประเทศและการปฏิรูป
งบประมาณยังไม่ได้เน้นย้ำ บทบาทการถ่ายโอนรายได้ (Redistribution Policy) ผ่านเครื่องมือภาษีและการจัดสรรสวัสดิการให้ผู้มีรายได้น้อยอย่างบูรณาการและเชื่อมโยงกันเพื่อแก้ปัญหาความเหลื่อมล้ำในสังคมไทย
การจัดสรรงบประมาณต้องเป็นไปตามความสำคัญและความเร่งด่วนของกิจกรรม เช่น รัฐบาลต้องตอบให้ได้ว่า งบประมาณของกระทรวงกลาโหมในส่วนในการจัดซื้ออาวุธยุทโธปกรณ์นั้นมีความสำคัญหรือความจำเป็นเร่งด่วนอย่างไรเมื่อเทียบกับ งบประมาณในการลงทุนเพื่อการบริหารจัดการน้ำ หรือ งบประมาณเพื่อสวัสดิการรักษาพยาบาลและสวัสดิการการศึกษาของประชาชนที่ถูกปรับลดลง และรายจ่ายทางการศึกษาสามารถปรับรูปแบบให้เป็นเงินทุนสำหรับผู้เรียนไปเลือกซื้อบริการจากรัฐหรือเอกชนก็ได้ เป็นการเปลี่ยนจาก Supply-side financing เป็น Demand-side financing สำหรับการใช้จ่ายทางการศึกษา เช่นเดียวกับรายจ่ายงบประมาณทางด้านสวัสดิการสุขภาพ ภาครัฐใช้ซื้อบริการ (โดยผู้ผลิตอาจเป็นภาครัฐหรือเอกชนก็ได้) สอดคล้องกับความต้องการของประชาชนและทำให้การใช้งบประมาณเกิดประสิทธิภาพสูงสุด
รัฐบาล และ สนช ต้องชี้แจงต่อสาธารณชนด้วยว่า งบประมาณกลาโหมงบความมั่นคงที่เพิ่มขึ้น 20-21% นั้นมีความจำเป็นอย่างไร ทั้งที่ภัยคุกคามทางด้านความมั่นคงลดลงและไม่มีสัญญาณใดๆที่จะเกิดสงครามในภูมิภาคนี้ กองทัพได้รับการจัดสรรงบประมาณตลอดระยะเวลาสี่ปีของรัฐบาล คสช ประมาณ 9 แสนล้านบาท ขณะที่ สังคมไทยมีความเหลื่อมล้ำและความไม่เป็นธรรมทางเศรษฐกิจในระดับสูงติดอันดับโลก แรงงานระดับล่างและเกษตรกรรายย่อยมีความยากลำบากทางเศรษฐกิจ มีสัดส่วนของหนี้สินต่อรายได้สูงมาก จึงควรจัดทำงบประมาณมุ่งเป้าหมายไปกลุ่มคนผู้มีรายได้น้อยและคนยากจนเพิ่มขึ้น ขณะที่การจัดซื้ออาวุธจากต่างประเทศไม่ก่อให้เกิดผลผลิตใดๆในระบบเศรษฐกิจและไม่ก่อให้เกิดสวัสดิการใดๆต่อประชาชน
ขณะที่งบประมาณทางด้านการศึกษาแม้นได้รับการจัดสรรสูงสุดแต่ได้รับงบประมาณลดลง 20,000 ล้านบาท ทั้งที่ประเทศมีความจำเป็นต้องลงทุนทางด้านทรัพยากรมนุษย์สูงเพื่อยกระดับขีดความสามารถในการแข่งขัน ข้อเท็จจริงของประเทศ ก็คือ เด็กกว่า 40% ไม่ได้อยู่กับพ่อแม่ เด็กไทย 1 ใน 5 ของเด็กก่อนวัยเรียน มีพัฒนาการต่ำกว่าวัย 2/3 ของครอบครัวไทยไม่สามารถมีเงินส่งลูกเรียนในระดับมหาวิทยาลัยได้ มีความไม่เสมอภาคทางการศึกษาระหว่างเมืองใหญ่กับชนบทสูงมาก ทรัพยากรมนุษย์ที่อ่อนแอย่อมไม่สามารถแบกรับภาระที่มากขึ้นของโครงสร้างสังคมผู้สูงอายุในอนาคตได้ดีนัก การปฏิรูปการศึกษาที่ล้มเหลวในช่วงสองทศวรรษที่ผ่านมา ทำให้เกิดต้นทุนค่าเสียโอกาสทางเศรษฐกิจและสังคมไม่ต่ำกว่า 1.5 ล้านล้านบาท คิดเป็น 10-11% ของจีดีพี
ผศ. ดร. อนุสรณ์ ยังกล่าวถึง ส่วนยุทธศาสตร์ที่กำหนดไว้ในงบประมาณก็เป็นยุทธศาสตร์ที่คิดแบบราชการ ไม่ได้ผนวกเอาวิสัยทัศน์ระยะยาวเข้าไปด้วยเพื่อให้ประเทศไทยก้าวข้ามกับดักรายได้ระดับปานกลาง แต่ยุทธศาสตร์ส่วนใหญ่เป็นยุทธศาสตร์พื้นฐานเหมือนเช่นยุทธศาสตร์งบประมาณทุกปี ไม่มีอะไรใหม่ อาจไม่สามารถตอบสนองต่อพลวัตของเทคโนโลยีใหม่ที่พลิกผันระบบเศรษฐกิจ ระบบการผลิต ระบบการเงินและระบบการเมืองได้ดีนัก รวมทั้ง ยังติดกรอบคิดแบบราชการ ตนจึงมีความเห็นว่าควรจัดทำงบประมาณเชิงยุทธศาสตร์โดยกำหนดไว้ 10 ยุทธศาสตร์ดังนี้
ยุทธศาสตร์ที่หนึ่ง ยุทธศาสตร์การปรับโครงสร้างอำนาจและส่งเสริมประชาธิปไตยให้เข้มแข็งมั่นคง
ยุทธศาสตร์ที่สอง ยุทธศาสตร์การเติบโตอย่างมีเสถียรภาพและยั่งยืนโดยเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและเอา "คุณภาพชีวิตของพลเมือง" เป็นศูนย์กลาง
ยุทธศาสตร์ที่สาม ยุทธศาสตร์ด้านความมั่นคงและ Greater Thailand/New Siam ยุทธศาสตร์นี้จะสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ความมั่นคงของรัฐบาล
ยุทธศาสตร์ที่สี่ ยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขันและเครือข่ายความร่วมมือ ยุทธศาสตร์ลดอำนาจการผูกขาด สร้างความเป็นประชาธิปไตยทางเศรษฐกิจ เพิ่มการแข่งขัน เสรีภาพในการประกอบการ
ยุทธศาสตร์ที่ห้า ยุทธศาสตร์ด้านลดความเหลื่อมล้ำ สร้างความเสมอภาค ความเป็นธรรมทางเศรษฐกิจและสังคม
ยุทธศาสตร์ที่หก ยุทธศาสตร์พัฒนาทรัพยากรมนุษย์ทุกช่วงวัยและการปรับโครงสร้างประชากรให้เหมาะสม
ยุทธศาสตร์ที่เจ็ด ยุทธศาสตร์การลงทุนโครงสร้างพื้นฐานทางเศรษฐกิจ สังคมวัฒนธรรมและการเมือง
ยุทธศาสตร์ที่แปด ยุทธศาสตร์การปฏิรูประบบราชการ รัฐวิสาหกิจ ภาคเอกชน และ ภาคการเมือง
ยุทธศาสตร์ที่เก้า ยุทธศาสตร์ศูนย์กลางอาหาร การท่องเที่ยว และบริการทางการแพทย์ของโลก และ ยุทธศาสตร์อุตสาหกรรมเป้าหมาย
ยุทธศาสตร์ที่สิบ ยุทธศาสตร์บูรณาการสู่การเป็นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจของภูมิภาค
การจัดทำงบประมาณก็ต้องเน้นการกระจายอำนาจทางการคลังอย่างแท้จริง เปิดโอกาสให้ประชาชนสามารถมีส่วนสำคัญในการจัดการการศึกษา ทรัพยากรของชุมชน การกระจายอำนาจทางการคลังและการจัดทำงบประมาณแบบนี้ จะนำไปสู่ การเพิ่มอำนาจประชาชนและลดอำนาจรัฐนั่นเอง ปรับเปลี่ยนการจัดสรร
งบประมาณเสียใหม่ให้ลงสู่พื้นที่และเปิดโอกาสให้ประชาชนมีส่วนในการกำหนดเป้าหมายด้านคุณภาพชีวิตเพื่อให้ทุกคนมีหลักประกันในชีวิต นอกจากนี้งบประมาณปี 2562 เป็นงบประมาณแผ่นดินในช่วงรอยต่อของระบอบรัฐบาล คสช กับ ระบอบรัฐบาลเลือกตั้ง จึงต้องมีการกำหนดให้ระบบตรวจสอบงบประมาณ และ การกำหนดตัวชี้วัดที่ทำให้เกิดการทำงานต่อเนื่องด้วย ลดปัญหางบประมาณค้างท่อแล้วมาเร่งรัดใช้จ่ายในช่วงปลายปีงบประมาณทำให้มีการใช้งบประมาณอย่างไม่มีประสิทธิภาพ นอกจากนี้ ปัญหาการของบประมาณมากเกินจริงของหน่วยราชการและการบริหารจัดการกองทุนนอกงบประมาณต้องบริหารจัดการให้ดี
ผศ. ดร. อนุสรณ์ กล่าวถึง ข้อเสนอในการปฏิรูประบบงบประมาณ ว่า เมื่อประเทศไทยกลับคืนสู่ประชาธิปไตยแล้ว ขอเสนอให้ ภาคประชาชน ภาควิชาการ ภาคเอกชน สามารถมีส่วนร่วมในการนำเสนอ งบประมาณของประชาชน (People Budget) ได้ โดยใช้แนวทางการจัดสรรงบประมาณแบบเพิ่มอำนาจประชาชน (People Empowerment) เสนอให้มีจัดตั้งคณะกรรมการบริหารงบประมาณที่มีตัวแทนจากภาคส่วนต่างๆ ซึ่งโครงสร้างปัจจุบันจะมีแต่ภาคราชการและภาคการเมือง และ ควรเพิ่มตัวแทนของภาคประชาชนในคณะกรรมการพิจารณางบประมาณขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและระบบตรวจสอบการใช้งบประมาณ
ขอให้มีการพิจารณาปรับเปลี่ยนการจัดสรรงบประมาณแบบ Supply-side โดยงบประมาณฐานะกรม ส่วนราชการเป็นผู้รับงบประมาณ เป็น การจัดสรรแบบ Demand-side เน้นส่งงบประมาณไปที่ประชาชนโดยตรงผ่านกลไกกองทุนหมู่บ้าน หรือ โครงการ SML ที่ประชาชนมีส่วนร่วมโดยตรงในการบริหารจัดการงบประมาณ
เป็นการจัดทำงบประมาณที่มีขนาดรายจ่ายเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง เป็นงบประมาณรายจ่ายสูงถึง 3.3 ล้านล้านบาทสะท้อนบทบาทของภาครัฐที่เพิ่มสูงขึ้นทางเศรษฐกิจ มีการทำขาดดุลงบประมาณสูงถึง 4.5 แสนล้านบาท ควรลดการขาดดุลลงเนื่องจากมีความจำเป็นน้อยลงในการใช้จ่ายเพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจและมีความจำเป็นในการลดความเสี่ยงของวิกฤติฐานะการคลังในอนาคต ต้องมีการบริหารการชำระหนี้สาธารณะให้ดีเพื่อไม่ให้เกิดการกระจุกตัวของการชำระหนี้ในอนาคตจนกระทบสภาพคล่องในอนาคต รายจ่ายประจำยังคงเพิ่มขึ้น 4.7% ขณะที่รายจ่ายเพื่อการลงทุนเพิ่มเพียง 1% สะท้อนยังไม่มีการปฏิรูปโครงสร้างงบประมาณแต่อย่างใดเพราะรายจ่ายเพื่อการลงทุนยังคงมีสัดส่วนเพียงแค่ 22% ซึ่งควรปรับโครงสร้างให้เพิ่มเป็น 30% ของงบประมาณรายจ่ายและต้องทำควบคู่กับการปฏิรูประบบราชการ
รัฐบาล และ สนช ต้องไปแยกแยะให้ได้ว่า โครงการต่างๆที่ปรากฎในงบประมาณโครงการไหนมีความสำคัญ มีความจำเป็นต่อประเทศชาติและประชาชน โครงการไหนเกิดขึ้นตามแรงขับเคลื่อนของกลุ่มผลประโยชน์ทั้งนอกและในระบบราชการ การลงทุนโครงสร้างพื้นฐานทางเศรษฐกิจและโครงการก่อสร้างขนาดใหญ่ทั้งหลายต้องประเมินให้ได้ว่าค่าใช้จ่ายเกินจริงเกินจำเป็นหรือไม่ เพราะมีหลายโครงการในอดีตประสบภาวะขาดทุนและเป็นภาระทางการคลังมาจนถึงทุกวันนี้
เราอาจลดการก่อหนี้สาธารณะเพิ่มเติม หากการจัดทำงบประมาณคำนึงถึงผลลัพธ์ (Result-based Budgeting) คือ หน่วยงานที่ใช้จ่ายเงินต้องรายงานผลลัพธ์ของการทำงานของหน่วยงาน และ การประเมินสัมฤทธิผล โดยมีตัวชี้วัด (Performance Indicator) เช่น ผลลัพธ์ของเงินงบประมาณ 100 ล้านบาทที่จ่ายออกไปที่สามารถวัดได้ทั้งในเชิงปริมาณและคุณภาพ
มีขนาดของงบกลางที่มากขึ้นอย่างชัดเจนสูงถึง 4.68 แสนล้านบาท และงบกลางมักไม่มีรายละเอียดรายการการใช้จ่ายทำให้เงินสาธารณะ (Public Money) อาจใช้จ่ายอย่างไม่มีประสิทธิภาพ รั่วไหลได้ง่ายหรือ
ใช้ไม่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์หรือเป้าหมายได้ หากมีการใช้จ่ายงบก้อนนี้ควรชี้แจงรายละเอียดต่อประชาชนและควรผ่านการพิจารณาโดยรัฐสภาหลังการเลือกตั้งด้วย
การจัดทำงบประมาณที่ขาดการมีส่วนร่วมของผู้แทนประชาชนและประชาชนเนื่องจากสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติไม่ได้มาจากการเลือกตั้งของประชาชน มาจากการแต่งตั้งโดย คสช ทำให้ระบบการคานอำนาจและการตรวจสอบงบประมาณไม่เกิดขึ้น บทบาทในการกลั่นกรองและทักท้วงรัฐบาลในการจัดทำงบประมาณจึงขาดหายไป
การขาดการมีส่วนร่วมของประชาชนและพรรคการเมืองต่างๆที่ต้องทำหน้าที่บริหารประเทศต่อไปหลังการเลือกตั้ง ขาดการเปิดกว้าง การเปิดกว้างให้มีการถกเถียงแลกเปลี่ยนกัน จนเกิด "ฉันทามติ" ในการจัดทำงบประมาณ
ทำให้โดยภาพรวมแล้วการจัดทำงบประมาณปี 2562 ก่อนประเทศไทยกลับคืนสู่ประชาธิปไตยยังไม่ได้อยู่บนพื้นฐานของการมีส่วนร่วม (Participation) ความโปร่งใส (Transparency) ที่เน้นการตรวจสอบถ่วงดุล ความรับผิดชอบ (Accountability) ความชอบธรรมทางการเมือง (Political Legitimacy) เน้นประสิทธิภาพและประสิทธิผล (Efficiency and Effectiveness) ทั้งหมดนี้ เรียกว่า หลักธรรมาภิบาลในการจัดทำงบประมาณให้เป็นไปตามยุทธศาสตร์ประเทศและการปฏิรูป
งบประมาณยังไม่ได้เน้นย้ำ บทบาทการถ่ายโอนรายได้ (Redistribution Policy) ผ่านเครื่องมือภาษีและการจัดสรรสวัสดิการให้ผู้มีรายได้น้อยอย่างบูรณาการและเชื่อมโยงกันเพื่อแก้ปัญหาความเหลื่อมล้ำในสังคมไทย
การจัดสรรงบประมาณต้องเป็นไปตามความสำคัญและความเร่งด่วนของกิจกรรม เช่น รัฐบาลต้องตอบให้ได้ว่า งบประมาณของกระทรวงกลาโหมในส่วนในการจัดซื้ออาวุธยุทโธปกรณ์นั้นมีความสำคัญหรือความจำเป็นเร่งด่วนอย่างไรเมื่อเทียบกับ งบประมาณในการลงทุนเพื่อการบริหารจัดการน้ำ หรือ งบประมาณเพื่อสวัสดิการรักษาพยาบาลและสวัสดิการการศึกษาของประชาชนที่ถูกปรับลดลง และรายจ่ายทางการศึกษาสามารถปรับรูปแบบให้เป็นเงินทุนสำหรับผู้เรียนไปเลือกซื้อบริการจากรัฐหรือเอกชนก็ได้ เป็นการเปลี่ยนจาก Supply-side financing เป็น Demand-side financing สำหรับการใช้จ่ายทางการศึกษา เช่นเดียวกับรายจ่ายงบประมาณทางด้านสวัสดิการสุขภาพ ภาครัฐใช้ซื้อบริการ (โดยผู้ผลิตอาจเป็นภาครัฐหรือเอกชนก็ได้) สอดคล้องกับความต้องการของประชาชนและทำให้การใช้งบประมาณเกิดประสิทธิภาพสูงสุด
รัฐบาล และ สนช ต้องชี้แจงต่อสาธารณชนด้วยว่า งบประมาณกลาโหมงบความมั่นคงที่เพิ่มขึ้น 20-21% นั้นมีความจำเป็นอย่างไร ทั้งที่ภัยคุกคามทางด้านความมั่นคงลดลงและไม่มีสัญญาณใดๆที่จะเกิดสงครามในภูมิภาคนี้ กองทัพได้รับการจัดสรรงบประมาณตลอดระยะเวลาสี่ปีของรัฐบาล คสช ประมาณ 9 แสนล้านบาท ขณะที่ สังคมไทยมีความเหลื่อมล้ำและความไม่เป็นธรรมทางเศรษฐกิจในระดับสูงติดอันดับโลก แรงงานระดับล่างและเกษตรกรรายย่อยมีความยากลำบากทางเศรษฐกิจ มีสัดส่วนของหนี้สินต่อรายได้สูงมาก จึงควรจัดทำงบประมาณมุ่งเป้าหมายไปกลุ่มคนผู้มีรายได้น้อยและคนยากจนเพิ่มขึ้น ขณะที่การจัดซื้ออาวุธจากต่างประเทศไม่ก่อให้เกิดผลผลิตใดๆในระบบเศรษฐกิจและไม่ก่อให้เกิดสวัสดิการใดๆต่อประชาชน
ขณะที่งบประมาณทางด้านการศึกษาแม้นได้รับการจัดสรรสูงสุดแต่ได้รับงบประมาณลดลง 20,000 ล้านบาท ทั้งที่ประเทศมีความจำเป็นต้องลงทุนทางด้านทรัพยากรมนุษย์สูงเพื่อยกระดับขีดความสามารถในการแข่งขัน ข้อเท็จจริงของประเทศ ก็คือ เด็กกว่า 40% ไม่ได้อยู่กับพ่อแม่ เด็กไทย 1 ใน 5 ของเด็กก่อนวัยเรียน มีพัฒนาการต่ำกว่าวัย 2/3 ของครอบครัวไทยไม่สามารถมีเงินส่งลูกเรียนในระดับมหาวิทยาลัยได้ มีความไม่เสมอภาคทางการศึกษาระหว่างเมืองใหญ่กับชนบทสูงมาก ทรัพยากรมนุษย์ที่อ่อนแอย่อมไม่สามารถแบกรับภาระที่มากขึ้นของโครงสร้างสังคมผู้สูงอายุในอนาคตได้ดีนัก การปฏิรูปการศึกษาที่ล้มเหลวในช่วงสองทศวรรษที่ผ่านมา ทำให้เกิดต้นทุนค่าเสียโอกาสทางเศรษฐกิจและสังคมไม่ต่ำกว่า 1.5 ล้านล้านบาท คิดเป็น 10-11% ของจีดีพี
ผศ. ดร. อนุสรณ์ ยังกล่าวถึง ส่วนยุทธศาสตร์ที่กำหนดไว้ในงบประมาณก็เป็นยุทธศาสตร์ที่คิดแบบราชการ ไม่ได้ผนวกเอาวิสัยทัศน์ระยะยาวเข้าไปด้วยเพื่อให้ประเทศไทยก้าวข้ามกับดักรายได้ระดับปานกลาง แต่ยุทธศาสตร์ส่วนใหญ่เป็นยุทธศาสตร์พื้นฐานเหมือนเช่นยุทธศาสตร์งบประมาณทุกปี ไม่มีอะไรใหม่ อาจไม่สามารถตอบสนองต่อพลวัตของเทคโนโลยีใหม่ที่พลิกผันระบบเศรษฐกิจ ระบบการผลิต ระบบการเงินและระบบการเมืองได้ดีนัก รวมทั้ง ยังติดกรอบคิดแบบราชการ ตนจึงมีความเห็นว่าควรจัดทำงบประมาณเชิงยุทธศาสตร์โดยกำหนดไว้ 10 ยุทธศาสตร์ดังนี้
ยุทธศาสตร์ที่หนึ่ง ยุทธศาสตร์การปรับโครงสร้างอำนาจและส่งเสริมประชาธิปไตยให้เข้มแข็งมั่นคง
ยุทธศาสตร์ที่สอง ยุทธศาสตร์การเติบโตอย่างมีเสถียรภาพและยั่งยืนโดยเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและเอา "คุณภาพชีวิตของพลเมือง" เป็นศูนย์กลาง
ยุทธศาสตร์ที่สาม ยุทธศาสตร์ด้านความมั่นคงและ Greater Thailand/New Siam ยุทธศาสตร์นี้จะสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ความมั่นคงของรัฐบาล
ยุทธศาสตร์ที่สี่ ยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขันและเครือข่ายความร่วมมือ ยุทธศาสตร์ลดอำนาจการผูกขาด สร้างความเป็นประชาธิปไตยทางเศรษฐกิจ เพิ่มการแข่งขัน เสรีภาพในการประกอบการ
ยุทธศาสตร์ที่ห้า ยุทธศาสตร์ด้านลดความเหลื่อมล้ำ สร้างความเสมอภาค ความเป็นธรรมทางเศรษฐกิจและสังคม
ยุทธศาสตร์ที่หก ยุทธศาสตร์พัฒนาทรัพยากรมนุษย์ทุกช่วงวัยและการปรับโครงสร้างประชากรให้เหมาะสม
ยุทธศาสตร์ที่เจ็ด ยุทธศาสตร์การลงทุนโครงสร้างพื้นฐานทางเศรษฐกิจ สังคมวัฒนธรรมและการเมือง
ยุทธศาสตร์ที่แปด ยุทธศาสตร์การปฏิรูประบบราชการ รัฐวิสาหกิจ ภาคเอกชน และ ภาคการเมือง
ยุทธศาสตร์ที่เก้า ยุทธศาสตร์ศูนย์กลางอาหาร การท่องเที่ยว และบริการทางการแพทย์ของโลก และ ยุทธศาสตร์อุตสาหกรรมเป้าหมาย
ยุทธศาสตร์ที่สิบ ยุทธศาสตร์บูรณาการสู่การเป็นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจของภูมิภาค
การจัดทำงบประมาณก็ต้องเน้นการกระจายอำนาจทางการคลังอย่างแท้จริง เปิดโอกาสให้ประชาชนสามารถมีส่วนสำคัญในการจัดการการศึกษา ทรัพยากรของชุมชน การกระจายอำนาจทางการคลังและการจัดทำงบประมาณแบบนี้ จะนำไปสู่ การเพิ่มอำนาจประชาชนและลดอำนาจรัฐนั่นเอง ปรับเปลี่ยนการจัดสรร
งบประมาณเสียใหม่ให้ลงสู่พื้นที่และเปิดโอกาสให้ประชาชนมีส่วนในการกำหนดเป้าหมายด้านคุณภาพชีวิตเพื่อให้ทุกคนมีหลักประกันในชีวิต นอกจากนี้งบประมาณปี 2562 เป็นงบประมาณแผ่นดินในช่วงรอยต่อของระบอบรัฐบาล คสช กับ ระบอบรัฐบาลเลือกตั้ง จึงต้องมีการกำหนดให้ระบบตรวจสอบงบประมาณ และ การกำหนดตัวชี้วัดที่ทำให้เกิดการทำงานต่อเนื่องด้วย ลดปัญหางบประมาณค้างท่อแล้วมาเร่งรัดใช้จ่ายในช่วงปลายปีงบประมาณทำให้มีการใช้งบประมาณอย่างไม่มีประสิทธิภาพ นอกจากนี้ ปัญหาการของบประมาณมากเกินจริงของหน่วยราชการและการบริหารจัดการกองทุนนอกงบประมาณต้องบริหารจัดการให้ดี
ผศ. ดร. อนุสรณ์ กล่าวถึง ข้อเสนอในการปฏิรูประบบงบประมาณ ว่า เมื่อประเทศไทยกลับคืนสู่ประชาธิปไตยแล้ว ขอเสนอให้ ภาคประชาชน ภาควิชาการ ภาคเอกชน สามารถมีส่วนร่วมในการนำเสนอ งบประมาณของประชาชน (People Budget) ได้ โดยใช้แนวทางการจัดสรรงบประมาณแบบเพิ่มอำนาจประชาชน (People Empowerment) เสนอให้มีจัดตั้งคณะกรรมการบริหารงบประมาณที่มีตัวแทนจากภาคส่วนต่างๆ ซึ่งโครงสร้างปัจจุบันจะมีแต่ภาคราชการและภาคการเมือง และ ควรเพิ่มตัวแทนของภาคประชาชนในคณะกรรมการพิจารณางบประมาณขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและระบบตรวจสอบการใช้งบประมาณ
ขอให้มีการพิจารณาปรับเปลี่ยนการจัดสรรงบประมาณแบบ Supply-side โดยงบประมาณฐานะกรม ส่วนราชการเป็นผู้รับงบประมาณ เป็น การจัดสรรแบบ Demand-side เน้นส่งงบประมาณไปที่ประชาชนโดยตรงผ่านกลไกกองทุนหมู่บ้าน หรือ โครงการ SML ที่ประชาชนมีส่วนร่วมโดยตรงในการบริหารจัดการงบประมาณ
Begin forwarded message:From: Good Morning from CNN <5things@cnn.com>Subject: Why your credit card payments will be a little bit higherDate: June 14, 2018 at 3:30:29 AM PDTTo: <sthinsan@gmail.com>Reply-To: Good Morning from CNN <5things@cnn.com>
view in browser
Thursday 6.14.18
If spending almost 20 hours on a plane is your idea of fun, then you better get your tickets now for the world's longest nonstop flight. Here's what else you need to know to Get Up to Speed and Out the Door.
By Doug Criss
Russia investigation
President Trump's legal team, prepping for a high-stakes meeting with special counsel Robert Mueller, talked with its client as he flew back from the North Korea summit. The team is gaming out the next move as it gets ready for a potential showdown with Mueller over the President's willingness to answer his questions about the Russia investigation. The President still entertains the possibility of sitting down with Mueller, but most of his legal team remains skeptical, multiple sources tell CNN. If Trump refuses an interview with Mueller, he could be subpoenaed, and the resulting fight over that could drag out the Russia investigation for another "nine to 15 months."
Meanwhile, Trump's personal attorney, Michael Cohen, has split with his legal team. It could signal a shift in strategy as criminal charges could become more likely as investigators sift through his financial dealings, including the payment he made to porn star Stormy Daniels on Trump's behalf before the election.
Interest rates
The red-hot economy shows no sign of cooling down, so the Federal Reserve feels comfortable enough to raise rates. The Fed raised the federal funds rate -- which helps determine rates for mortgages, credit cards and other borrowing -- a quarter of a percentage point to a range of 1.75% to 2%. It's the second rate hike for the year, and it won't be the last. Two more rate increases are expected this year, as the Fed tries to stay ahead of inflation, which has crept up a bit as of late. Wall Street, of course, didn't like the hike; the Dow fell 119 points.
North Korea
There's a dispute between Washington and Pyongyang over sanctions. North Korean state media said the US would start easing up on sanctions as the nation made progress on getting rid of its nukes. Not so, says Secretary of State Mike Pompeo, who said there will be no sanctions relief for the North while it still has nuclear weapons.
Meantime, President Trump was still taking a victory lap after returning from his summit with North Korean leader Kim Jong Un, tweeting: "There is no longer a Nuclear Threat from North Korea," and we could all "sleep well tonight." But lots of folks are disputing that notion, since the Trump-Kim sit-down produced no verifiable proof that the rogue regime will discontinue its nuclear program. And the White House is expected, as soon as today, to formally call off military drills with South Korea, one of the more shocking results of the summit.
Migrant crisis
Remember those 630 migrants left stranded in the Mediterranean after Italy and Malta refused to let them in? Well, now they're on an 800-mile journey to Spain, after officials there agreed to accept them. The migrants, now on three ships, are headed to Valencia. Once there, they'll be given a 15-day permit to stay, during which they can start the asylum process. Their saga has become a diplomatic hot potato in Europe, where anti-immigrant sentiment and strained resources have butted up against migrants arriving by the thousands.
World Cup
Soccer fans, rejoice! The World Cup starts today, and there are so many intriguing story lines, both on and off the pitch: Germany's trying to be the first repeat winner since the 1960s. This may be Cristiano Ronaldo's and Lionel Messi's last, best chance to win the one major title that has evaded them. The US is watching from home, while host country Russia is the tourney's most controversial site in decades.
But wait, there's more! If you don't know whom to root for since your country's not in it (we're looking at you, Americans) this handy guide is a must-read. And it's never too early to start dreaming about future World Cups, now that we know the US, Mexico and Canada will host the event in 2026.
Separating babies from their mothers is not the answer and is immoral.Cardinal Daniel DiNardo, president of the US Conference of Catholic Bishops, criticizing the Trump administration's immigration policy of separating families caught crossing the border illegally
People are talking about these. Read up. Join in.
Afghanistan's 'Malala'
Two years ago, the Taliban shot her in the leg and foot and left her for dead. But that didn't stop Breshna Musazai from graduating from college -- with honors.
(Sur)real estate
If you're into ghost towns -- and who isn't? -- you can buy one in California for a cool $925,000.
Comfort food
He felt sympathy for the 54 undocumented immigrants found in the back of a tractor-trailer. So, he bought them all pizza.
Beyond the call
When a Florida man called the cops because he wanted his drugs tested, the police were more than happy to oblige.
Abortion vote
Lawmakers in Argentina are expected to vote today on a bill that would relax the nation's highly restrictive abortion laws.
I know it means so much to so many people.London Breed, reflecting on her election as mayor of San Francisco. She's the first black woman to win the city's top job.
62
The number of people Border Patrol agents found in ONE house after they raided a two-bedroom home in Laredo, Texas
$65 billion
That's how much Comcast is putting on the table to buy most of 21st Century Fox. The cable giant hopes to beat out Disney, which has already made a $52.4 billion bid for Fox.
Where do we sign up for this job?
Did you know there was such a thing as a bubble artist? We didn't either. (Click to view.)
one more thing
We inadvertently gave you a glimpse behind the curtain yesterday at how we create the 5 Things newsletter when we forgot to delete a gray box (like this one) in which we often include a quote of the day. Thanks to our astute readers for catching our mistake.
Share
Tweet
ALL CNN NEWSLETTERS
CNN Five Things shows up in your inbox every weekday at 6 a.m. ET. Like what you see? Don't like what you see? Let us know. We're all about self improvement. Did a friend forward you this newsletter? Sign yourself up!
Copyright © 2018 Cable News Network, LP, LLLP. A Time Warner Company. All Rights Reserved., All rights reserved.
You are receiving this email because you subscribed to CNN newsletters.
update preferences or unsubscribe