Saturday, April 4, 2015

สหรัฐจะทำอะไรบรรดาเผด็จการที่มีทรัพย์สินในอเมริกา ได้หรือไม่?

สหรัฐจะทำอะไรบรรดาเผด็จการที่มีทรัพย์สินในอเมริกา ได้หรือไม่?



คำประกาศของประธานาธิบดีสหรัฐฯในวันที่ ๔ สิงหาคม ปีค.ศ.๒๐๑๑ จะลามไปในทาง

ใดเกี่ยวกับประเทศไทย  
นี่คือ การให้สิทธิแก่ Secretary of State ที่เรียกว่า the Delegation of powers ในวันที่ ๔ สิงหาคม ปีค.ศ.๒๐๑๑ วันนี้คือปีค.ศ.๒๐๑๕ จำเป็นต้องบอกว่า

ฝ่ายบริหารของสหรัฐอเมริกา คือ the Executive มองการณ์ไกลเสมอ และเกาะติดสถานการณ์ทุกมุมโลก" สำหรับประเทศไทยของเรา ทุกๆคนที่เข้าคุณลักษณะตามประกาศของประธานาธิบดี (the President's Proclamation) ต้องระวังตัวให้ดีๆ

สถานภาพของประเทศอยู่ในสถานะง่อนแง่น และกำลังก้าวเข้าไปใกล้กับ กฏหมายสำคัญของอเมริกา คือ Not Trading with the Enemies Act ที่จะเป็นอำนาจของ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังของ สหรัฐอเมริกา ที่จะทำคำประกาศมาให้ประธานาธิบดีลงนามที่เกี่ยวกับประเทศไทย

เมื่อใดที่ทำและประกาศใช้ จะเกิดการยึดทรัพย์คนไทยในสหรัฐฯ และที่นำไปฝากไว้ในสหรัฐฯทันที 
เมื่อมีความรู้ในเรื่องนี้ จึงต้องแบ่งปันกับพี่น้องประชาชนคนไทย
\\

คำถามสำหรับคนไทย

ประธานาธิบดีจอห์นเอฟเคนเนดี บอกว่าอย่าถามว่าประเทศไทยอะไรกับท่าน แต่จงถามว่าท่านได้ให้อะไรกับประเทศชาติ

คำถามสำหรับคนไทย

ประธานาธิบดีจอห์นเอฟเคนเนดี บอกว่าอย่าถามว่าประเทศไทยอะไรกับท่าน แต่จงถามว่าท่านได้ให้อะไรกับประเทศชาติ

Xomjit # 33 Royal Ruling Plan สิรินทอมเปิดเผยแผนกินรวบประเทศแบบถาวรตลอ­ดกาล


Xomjit # 33 Royal Ruling Plan สิรินทอมเปิดเผยแผนกินรวบประเทศแบบถาวรตลอ­ดกาล

Xomjit # 33 Royal Ruling Plan สิรินทอมเปิดเผยแผนกินรวบประเทศแบบถาวรตลอ­ดกาล


Xomjit # 33 Royal Ruling Plan สิรินทอมเปิดเผยแผนกินรวบประเทศแบบถาวรตลอ­ดกาล

ดร.เพียงดิน รักไทย 4 เมษายน 2558 ตอน "มดแดงแตกรัง จะล้มช้างได้หรือ?????"

ดร.เพียงดิน รักไทย 4 เมษายน 2558 ตอน "มดแดงแตกรัง จะล้มช้างได้หรือ?????"


ดร.เพียงดิน รักไทย 4 เมษายน 2558 ตอน

"มดแดงแตกรัง จะล้มช้างได้หรือ?????" 



ดร.เพียงดิน รักไทย 4 เมษายน 2558 ตอน "มดแดงแตกรัง จะล้มช้างได้หรือ?????"

ดร.เพียงดิน รักไทย 4 เมษายน 2558 ตอน "มดแดงแตกรัง จะล้มช้างได้หรือ?????"


ดร.เพียงดิน รักไทย 4 เมษายน 2558 ตอน

"มดแดงแตกรัง จะล้มช้างได้หรือ?????" 



รัฐประหาร ด้วยรถถังและลายมือกษัตริย์ ก่อให้เกิดรัฏฐาธิปัตย์ อย่างถูกกฎหมายสากล จริงหรือ?


รัฐประหาร ด้วยรถถังและลายมือกษัตริย์ ก่อให้เกิดรัฏฐาธิปัตย์ อย่างถูกกฎหมายสากล จริงหรือ?


By Ajaan Thanaboon Chiranuvat


เมื่อเกิดคำถามว่า การยึดอำนาจ และการรัฐประหาร ทำให้คณะบุคคลที่เข้าจับยึดกุมอำนาจรัฐที่ว่า กลายเป็นรัฏฐาธิปัตย์ หรือ Sovereignty หรือไม่? วิธีที่ถูกที่ควรต้องปฏิบัติในทางแก้ไขอย่างไร?
คุณ Donmuang นั่นเป็นความเข้าใจ ที่คลาดเคลื่อนต่อ ข้อกฏหมายของศาลไทยในอดีต ในวันนี้ เราไปลงนาม และ ให้สัตยาบันต่อ Convention Against Corruption, 2003 แล้วในวันที่ ๑ มีนาคม พ.ศ.๒๕๕๔ หรือปีค.ศ.๒๐๑๑.......................................................ฯ


เมื่อประเทศไปก่อพันธกรณีในระหว่างประเทศ กับนานาชาติผูกพันตน เกิดเป็นภาระหน้าที่ๆต้องปฏิบัติตามสนธิสัญญานั้น คุณมาถามผมว่า ใครจะเป็นคนบังคับ คำตอบ ก็คือ ศาลโลก และองค์การสหประชาชาติไงเล่าครับ ขอยกตัวอย่างสนธิสัญญาว่าด้วยการป้องกัน และการลงโทษความผิดอาญาว่าด้วยการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ ปีค.ศ.๑๙๕๑ เมื่อมีการลงนามกันแล้ว และ ให้สัตยาบัน เพื่อการปฏิบัติแล้ว มีชาติคู่ภาคีสมาชิกชาติหนึ่ง หรือหลายชาติ ไปออกคำสงวนสิทธิ (Reservation) ที่จะเลี่ยง ไม่ปฏิบัติตามสนธิสัญญาในภายหลัง.......................................................................ฯ

""""
ฝรั่งเศสซึ่งเป็นหนึ่งในชาติคู่ภาคีสมาชิก นำเรื่องดังกล่าวนี้ ไปร้องเรียนในสมัชชาใหญ่ และ คณะมนตรีความมั่นคง ของสหประชาชาติ ในที่สุดเกิดการสอบสวน และนำไปให้ศาลโลกชี้ขาดในแผนก Advisory Opinion ศาลโลก ก็นำไปตีความชี้ขาด (เมื่อชี้ขาดแล้ว เกิดผลบังคับทันทีทั่วโลก) ศาลโลกชี้ขาดว่า "Reservation ของชาติคู่ภาคีใดๆ ที่ต้องการหลีกเลี่ยงจะไม่ปฏิบัติตามสนธิสัญญา Reservation เช่นว่านั้น ไม่มีผลบังคับต่อสนธิสัญญา" (ซึ่งคุณอาจไปศึกษาค้นคว้าเอาได้ด้วยตนเอง ผมคงไม่ต้องสอนคุณ โดยคุณเปิดไปหาคดีนี้ได้ในเว็ปไซด์ของศาลโลก)......................................ฯ


ทีนี้มาพิจารณาว่า "การทำการรัฐประหาร"ทำให้คณะผู้ทำการรัฐประหาร เป็นรัฏฐาธิปัตย์ หรือ Sovereignty "หรือไม่? คำตอบ คือ ไม่เป็นครับ เมื่อไม่เป็น เพราะเหตุใด? ไม่เป็นเพราะเรามี the Geneva Conventions, 1949 โดยเฉพาะอย่างยิ่งฉบับที่ ๔ พร้อมบทบัญญัติที่ ๓ ร่วม ที่ประเทศนี้ ไปประกาศขอเข้าร่วม เป็นชาติคู่ภาคีสมาชิก และ ต้องให้สัตยาบัน ในวันที่ ๒๙ ธันวาคม ปีค.ศ.๑๙๕๔ หรือปีพ.ศ.๒๔๙๗ ขวางกั้นเอาไว้ คนไทย ยังมีความเข้าใจ ที่คลาดเคลื่อนต่อ the Geneva Conventions,1949 ที่คลาดเคลื่อนทั้งในข้อกฏหมายและข้อบัญญัติของสนธิสัญญาแบบผิดๆ แล้วไม่ศึกษา คิดว่าสนธิสัญญาบังคับเฉพาะพลเรือน ยกตัวอย่างเช่น ๑.บทบัญญัติที่ ๕๙ ของสนธิสัญญา บังคับฝ่ายที่เป็นทหารด้วย วัตถุประสงค์ของ the Geneva Conventions, 1949 ก็เพื่อช่วยมนุษย์ ที่กำลังอยู่ระหว่างภัยสงคราม และ การสู้รบในสนามรบ การประกาศใช้สนธิสัญญานี้ ก็เพื่อขจัดการปกครองทางทหารในแบบ NAZI เยอรมันที่โลกทั้งใบไม่ต้องการ คือสั่งคนทั้งประเทศ ให้ซ้ายหัน และขวาหัน ตามคนที่สั่ง ที่เราเรียกว่า "ใช้ Absolute Power" และมนุษยชาติ เพิ่งเผชิญภัยนั้นมา แบบสดๆร้อนๆ...ฯ

๒. เมื่อพัฒนาการทางกฏหมายของมนุษย์ และ พลวัตรในสังคมมนุษย์เจริญขึ้นเกิด Convention Against Corruption, 2003 ข้างต้น คำว่า Corruption Act ตามสนธิสัญญาฉบับนี้ ไม่หมายเฉพาะ การกระทำการ ลัก วิ่ง ชิง ปล้น ฉ้อโกง ยักยอก รับของโจร เพื่อเอาทรัพย์ หรือ การฟอกเงิน การกระทำใดๆ ที่ขัดขวางต่อกระบวนการยุติธรรมอย่างเดียว แต่ยังหมายถึง การกระทำใดๆที่เป็นการใช้อำนาจโดยมิชอบ เพื่อประโยชน์ตน (Abused of Powers for Private Gains) และประโยชน์เช่นนี้ไม่ต้องเป็นเงินเป็นทองก็ได้ เช่น ได้รับความพึงพอใจส่วนตนของผู้ปฏิบัติฯลฯ เป็นต้น ก็เป็น Corruption Act แล้วครับ......................................................................................................................ฯ


๓. เมื่อเป็นไปตามข้อกฏหมายดังที่ว่ามา การกระทำการยึดอำนาจ และ การรัฐประหาร เป็นการกระทำ ที่เข้าองค์ประกอบของคำว่า " Corruption" หรือไม่ ? ถ้าใช่ไทยมีพันธกรณีที่ต้องปฏิบัติตามสนธิสัญญานี้ หรือไม่? ถ้ามีพันธกรณีที่ไทย ต้องปฏิบัติ ประชาชนในชาติ ที่ได้รับความเดือดร้อน เขา ย่อมเกิดสิทธิ ที่จะไปร้องขอให้สหประชาชาติ ให้ต้องดำเนินการในการทำการสอบสวน ในเรื่องที่ร้องทุกข์มา แล้วส่งเรื่อง ที่ประมวลได้มาทั้งหมดไปยังศาลโลก เพื่อการตีความได้หรือไม่? โดยยกคดีของประเทศฝรั่งเศสข้างต้น ที่บรรยายมา เป็นคดีตัวอย่าง ในการร้องขอต่อองค์การสหประชาชาติ ............................................................................................................ฯ

นี่จึงเป็นการตอบคำถามในใจ ของคน ที่ยังมีความคลางแคลงสงสัยในเรื่องดังกล่าว ที่คุณยกมาถามผม เมื่อผมให้คำตอบแก่คุณ อย่างสิ้นสงสัยแล้วใช่ไหม? ครับ เอวัง ก็มีด้วยประการฉะนี้.





รัฐประหาร ด้วยรถถังและลายมือกษัตริย์ ก่อให้เกิดรัฏฐาธิปัตย์ อย่างถูกกฎหมายสากล จริงหรือ?


รัฐประหาร ด้วยรถถังและลายมือกษัตริย์ ก่อให้เกิดรัฏฐาธิปัตย์ อย่างถูกกฎหมายสากล จริงหรือ?


By Ajaan Thanaboon Chiranuvat


เมื่อเกิดคำถามว่า การยึดอำนาจ และการรัฐประหาร ทำให้คณะบุคคลที่เข้าจับยึดกุมอำนาจรัฐที่ว่า กลายเป็นรัฏฐาธิปัตย์ หรือ Sovereignty หรือไม่? วิธีที่ถูกที่ควรต้องปฏิบัติในทางแก้ไขอย่างไร?
คุณ Donmuang นั่นเป็นความเข้าใจ ที่คลาดเคลื่อนต่อ ข้อกฏหมายของศาลไทยในอดีต ในวันนี้ เราไปลงนาม และ ให้สัตยาบันต่อ Convention Against Corruption, 2003 แล้วในวันที่ ๑ มีนาคม พ.ศ.๒๕๕๔ หรือปีค.ศ.๒๐๑๑.......................................................ฯ


เมื่อประเทศไปก่อพันธกรณีในระหว่างประเทศ กับนานาชาติผูกพันตน เกิดเป็นภาระหน้าที่ๆต้องปฏิบัติตามสนธิสัญญานั้น คุณมาถามผมว่า ใครจะเป็นคนบังคับ คำตอบ ก็คือ ศาลโลก และองค์การสหประชาชาติไงเล่าครับ ขอยกตัวอย่างสนธิสัญญาว่าด้วยการป้องกัน และการลงโทษความผิดอาญาว่าด้วยการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ ปีค.ศ.๑๙๕๑ เมื่อมีการลงนามกันแล้ว และ ให้สัตยาบัน เพื่อการปฏิบัติแล้ว มีชาติคู่ภาคีสมาชิกชาติหนึ่ง หรือหลายชาติ ไปออกคำสงวนสิทธิ (Reservation) ที่จะเลี่ยง ไม่ปฏิบัติตามสนธิสัญญาในภายหลัง.......................................................................ฯ

""""
ฝรั่งเศสซึ่งเป็นหนึ่งในชาติคู่ภาคีสมาชิก นำเรื่องดังกล่าวนี้ ไปร้องเรียนในสมัชชาใหญ่ และ คณะมนตรีความมั่นคง ของสหประชาชาติ ในที่สุดเกิดการสอบสวน และนำไปให้ศาลโลกชี้ขาดในแผนก Advisory Opinion ศาลโลก ก็นำไปตีความชี้ขาด (เมื่อชี้ขาดแล้ว เกิดผลบังคับทันทีทั่วโลก) ศาลโลกชี้ขาดว่า "Reservation ของชาติคู่ภาคีใดๆ ที่ต้องการหลีกเลี่ยงจะไม่ปฏิบัติตามสนธิสัญญา Reservation เช่นว่านั้น ไม่มีผลบังคับต่อสนธิสัญญา" (ซึ่งคุณอาจไปศึกษาค้นคว้าเอาได้ด้วยตนเอง ผมคงไม่ต้องสอนคุณ โดยคุณเปิดไปหาคดีนี้ได้ในเว็ปไซด์ของศาลโลก)......................................ฯ


ทีนี้มาพิจารณาว่า "การทำการรัฐประหาร"ทำให้คณะผู้ทำการรัฐประหาร เป็นรัฏฐาธิปัตย์ หรือ Sovereignty "หรือไม่? คำตอบ คือ ไม่เป็นครับ เมื่อไม่เป็น เพราะเหตุใด? ไม่เป็นเพราะเรามี the Geneva Conventions, 1949 โดยเฉพาะอย่างยิ่งฉบับที่ ๔ พร้อมบทบัญญัติที่ ๓ ร่วม ที่ประเทศนี้ ไปประกาศขอเข้าร่วม เป็นชาติคู่ภาคีสมาชิก และ ต้องให้สัตยาบัน ในวันที่ ๒๙ ธันวาคม ปีค.ศ.๑๙๕๔ หรือปีพ.ศ.๒๔๙๗ ขวางกั้นเอาไว้ คนไทย ยังมีความเข้าใจ ที่คลาดเคลื่อนต่อ the Geneva Conventions,1949 ที่คลาดเคลื่อนทั้งในข้อกฏหมายและข้อบัญญัติของสนธิสัญญาแบบผิดๆ แล้วไม่ศึกษา คิดว่าสนธิสัญญาบังคับเฉพาะพลเรือน ยกตัวอย่างเช่น ๑.บทบัญญัติที่ ๕๙ ของสนธิสัญญา บังคับฝ่ายที่เป็นทหารด้วย วัตถุประสงค์ของ the Geneva Conventions, 1949 ก็เพื่อช่วยมนุษย์ ที่กำลังอยู่ระหว่างภัยสงคราม และ การสู้รบในสนามรบ การประกาศใช้สนธิสัญญานี้ ก็เพื่อขจัดการปกครองทางทหารในแบบ NAZI เยอรมันที่โลกทั้งใบไม่ต้องการ คือสั่งคนทั้งประเทศ ให้ซ้ายหัน และขวาหัน ตามคนที่สั่ง ที่เราเรียกว่า "ใช้ Absolute Power" และมนุษยชาติ เพิ่งเผชิญภัยนั้นมา แบบสดๆร้อนๆ...ฯ

๒. เมื่อพัฒนาการทางกฏหมายของมนุษย์ และ พลวัตรในสังคมมนุษย์เจริญขึ้นเกิด Convention Against Corruption, 2003 ข้างต้น คำว่า Corruption Act ตามสนธิสัญญาฉบับนี้ ไม่หมายเฉพาะ การกระทำการ ลัก วิ่ง ชิง ปล้น ฉ้อโกง ยักยอก รับของโจร เพื่อเอาทรัพย์ หรือ การฟอกเงิน การกระทำใดๆ ที่ขัดขวางต่อกระบวนการยุติธรรมอย่างเดียว แต่ยังหมายถึง การกระทำใดๆที่เป็นการใช้อำนาจโดยมิชอบ เพื่อประโยชน์ตน (Abused of Powers for Private Gains) และประโยชน์เช่นนี้ไม่ต้องเป็นเงินเป็นทองก็ได้ เช่น ได้รับความพึงพอใจส่วนตนของผู้ปฏิบัติฯลฯ เป็นต้น ก็เป็น Corruption Act แล้วครับ......................................................................................................................ฯ


๓. เมื่อเป็นไปตามข้อกฏหมายดังที่ว่ามา การกระทำการยึดอำนาจ และ การรัฐประหาร เป็นการกระทำ ที่เข้าองค์ประกอบของคำว่า " Corruption" หรือไม่ ? ถ้าใช่ไทยมีพันธกรณีที่ต้องปฏิบัติตามสนธิสัญญานี้ หรือไม่? ถ้ามีพันธกรณีที่ไทย ต้องปฏิบัติ ประชาชนในชาติ ที่ได้รับความเดือดร้อน เขา ย่อมเกิดสิทธิ ที่จะไปร้องขอให้สหประชาชาติ ให้ต้องดำเนินการในการทำการสอบสวน ในเรื่องที่ร้องทุกข์มา แล้วส่งเรื่อง ที่ประมวลได้มาทั้งหมดไปยังศาลโลก เพื่อการตีความได้หรือไม่? โดยยกคดีของประเทศฝรั่งเศสข้างต้น ที่บรรยายมา เป็นคดีตัวอย่าง ในการร้องขอต่อองค์การสหประชาชาติ ............................................................................................................ฯ

นี่จึงเป็นการตอบคำถามในใจ ของคน ที่ยังมีความคลางแคลงสงสัยในเรื่องดังกล่าว ที่คุณยกมาถามผม เมื่อผมให้คำตอบแก่คุณ อย่างสิ้นสงสัยแล้วใช่ไหม? ครับ เอวัง ก็มีด้วยประการฉะนี้.





เกร็ด ปวศ. วันสวรรคต 6 เม.ย. "ชะตากรรม พระเจ้าตากสิน และ ราชวงศ์จักรี"

เกร็ดประวัติศาสตร์ วันสวรรคต 6 เม.ย. "ชะตากรรม พระเจ้าตากสิน และ ราชวงศ์จักรี"

==================================

เกร็ด ปวศ. วันสวรรคต 6 เม.ย. "ชะตากรรม พระเจ้าตากสิน และ ราชวงศ์จักรี"

เกร็ดประวัติศาสตร์ วันสวรรคต 6 เม.ย. "ชะตากรรม พระเจ้าตากสิน และ ราชวงศ์จักรี"

==================================

รายการ ยืนเด่นโดยท้าทาย ฆ่าลูกเพื่อพ่อ

รายการ ยืนเด่นโดยท้าทาย ฆ่าลูกเพื่อพ่อ

ดร.เพียงดิน รักไทย 4 เมษายน 2558 ตอน มดแดงแตกรัง จะล้มช้างได้หรือ????



ทางออกประเทศไทย อ.ชูพงศ์-ดร.เพียงดิน
สองทุ่มครึ่ง วันเสาร์เมืองไทย
ที่นี่



พลังสันติ โลกล้อมประเทศ  ทำได้ไม่ต้องใช้งบมหาศาล และทำได้แทบทุกคน...


เชิญรับชม การถ่ายทอดสด ทางออกประเทศไทย อ.ชูพงศ์-ดร.เพียงดิน สองทุ่มครึ่ง วันเสาร์เมืองไทย ที่นี่

ดร.เพียงดิน รักไทย 4 เมษายน 2558 ตอน มดแดงแตกรัง จะล้มช้างได้หรือ????



ทางออกประเทศไทย อ.ชูพงศ์-ดร.เพียงดิน
สองทุ่มครึ่ง วันเสาร์เมืองไทย
ที่นี่



พลังสันติ โลกล้อมประเทศ  ทำได้ไม่ต้องใช้งบมหาศาล และทำได้แทบทุกคน...


เชิญรับชม การถ่ายทอดสด ทางออกประเทศไทย อ.ชูพงศ์-ดร.เพียงดิน สองทุ่มครึ่ง วันเสาร์เมืองไทย ที่นี่

ศาลนานาชาติ มีอำนาจพิจารณาและพิพากษา กรณีในไทย แค่ไหน?





By Thanaboon Chiranuvat
ศาลนานาชาติ มีอำนาจพิจารณาและพิพากษา กรณีในไทย แค่ไหน? มีคนไทย ที่ยังมีความสงสัย ในเรื่องอำนาจการพิจารณา และ พิพากษา ในระหว่างศาลอาญาพิเศษขององค์การสหประชาชาติ และศาลอาญาระหว่างประเทศ เกี่ยวพันกับ Convention Against Corruption, 2003.

ก) ไทยไม่ได้ลงสัตยาบันยอมรับศาลอาญาระหว่างประเทศใข่ไหมคะ ข) เคยมีใครโดนศาลอาญาพิเศษของสหประชาขาติโดนพิพากษาว่าละเมิด Convention Against Corruption ไหมคะ
๑. ไทยไม่ต้องลงสัตยาบันใดๆ เพราะไทยให้สัตยาบันมาแล้ว ต่อ Charter of United Nations, 1945 ในวันที่ ๑๖ ธันวาคม ปีค.ศ.๑๙๔๖ หรือปีพ.ศ.๒๔๘๙ ศาลอาญาพิเศษ ขององค์การสหประชาชาติ เกิดขึ้นตาม Resolutions ของคณะมนตรีความมั่นคง หรือ Security Council ที่ ๑๖๗๔ และ ๘๒๗ คำสั่งของคณะมนตรีความมั่นคง เมื่อสั่งแล้วมีผลบังคับ เป็นกฏหมายทันที ในกฏหมายภายในของรัฐคู่ภาคีสมาชิก ขององค์การสหประชาชาติ ตามกฏบัตรสหประชาชาติ หรือ Charter of United Nations ......................................................ฯ
๒. ยังไม่มีใครโดนดำเนินคดีตาม (สนธิสัญญา) หรือ Convention Against Corruption, 2003 แต่ไทยจะโดนเป็นคนแรก ให้ไปเปิดเว็บไซด์ของศาลนี้ดู คือ ศาล อาญาพิเศษของสหประชาชาติ ที่ตั้งไว้ในบอสเนีย เฮอร์เซ โกวีน่า, ราวันด้า ได้ครับ นั่นเป็นการพิจารณาและพิพากษาตาม the Geneva Conventions, 1949 และ Hague Conventions หรือ Regulations, 1899 - 1907 สำหรับสองสนธิสัญญานี้ มีความเกี่ยวพัน หรือเกี่ยวโยงใกล้ชิดกับ Human Rights Law ที่เป็นบ่อเกิดของ Convention Against Corruption, 2003 ฉะนั้นเมื่อเรื่องไปถึงองค์การสหประชาชาติ และ ดำเนินการในการสอบสวนจนเสร็จสิ้นแล้ว คดีจะถูกส่งไปยังคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติเพื่อมีมติว่า จะให้ขึ้นศาลใดในระหว่าง ศาลอาญาระหว่างประเทศ กับ ศาลอาญาพิเศษขององค์การสหประชาชาติ เพราะอำนาจให้ไปขึ้นศาลใด เป็นอำนาจโดยเฉพาะของ คณะมนตรีความมั่นคง ตาม Rome Statue, 1998 และ Charter of United Nations, 1945........................................................ฯ

๓. ประเทศไทย ยังมิได้ให้สัตยาบันต่อ Rome Statues, 1998 แต่ถึงอย่างไร? ก็ตามเมื่อเรื่องไปรอการลงมติของคณะมนตรีความมั่นคง เพื่อสั่ง เมื่อคณะมนตรีความมั่นคงสั่งอย่างไร? ตามกฏบัตรสหประชาชาติ, ๑๙๔๕ แล้ว ย่อมส่งผลไปถึง Rome Statues, 1998 อยู่ดี ทั้งนี้เป็นไป ตามมติของที่ประชุมใหญ่ของรัฐคู่ภาคี Rome Statues, 1998 ที่ไปประชุมกันที่กรุงกัมปาล่า ประเทศเอธิโอเปีย เมื่อปีค.ศ.๒๐๑๐ ศาลอาญาระหว่างประเทศ มิใช่ศาลอาญาของ องค์การสหประชาชาติ แต่เป็นศาล ที่องค์การสหประชาชาติ เป็น Sponsor จัดตั้งให้เกิดขึ้นตามคำร้องของ ชาติคู่ภาคีสมาชิก ขององค์การสหประชาชาติ มีประมาณ ๑๒๐ ชาติคู่ภาคี.
ศาลนานาชาติ มีอำนาจพิจารณาและพิพากษา กรณีในไทย แค่ไหน?

ศาลนานาชาติ มีอำนาจพิจารณาและพิพากษา กรณีในไทย แค่ไหน?





By Thanaboon Chiranuvat
ศาลนานาชาติ มีอำนาจพิจารณาและพิพากษา กรณีในไทย แค่ไหน? มีคนไทย ที่ยังมีความสงสัย ในเรื่องอำนาจการพิจารณา และ พิพากษา ในระหว่างศาลอาญาพิเศษขององค์การสหประชาชาติ และศาลอาญาระหว่างประเทศ เกี่ยวพันกับ Convention Against Corruption, 2003.

ก) ไทยไม่ได้ลงสัตยาบันยอมรับศาลอาญาระหว่างประเทศใข่ไหมคะ ข) เคยมีใครโดนศาลอาญาพิเศษของสหประชาขาติโดนพิพากษาว่าละเมิด Convention Against Corruption ไหมคะ
๑. ไทยไม่ต้องลงสัตยาบันใดๆ เพราะไทยให้สัตยาบันมาแล้ว ต่อ Charter of United Nations, 1945 ในวันที่ ๑๖ ธันวาคม ปีค.ศ.๑๙๔๖ หรือปีพ.ศ.๒๔๘๙ ศาลอาญาพิเศษ ขององค์การสหประชาชาติ เกิดขึ้นตาม Resolutions ของคณะมนตรีความมั่นคง หรือ Security Council ที่ ๑๖๗๔ และ ๘๒๗ คำสั่งของคณะมนตรีความมั่นคง เมื่อสั่งแล้วมีผลบังคับ เป็นกฏหมายทันที ในกฏหมายภายในของรัฐคู่ภาคีสมาชิก ขององค์การสหประชาชาติ ตามกฏบัตรสหประชาชาติ หรือ Charter of United Nations ......................................................ฯ
๒. ยังไม่มีใครโดนดำเนินคดีตาม (สนธิสัญญา) หรือ Convention Against Corruption, 2003 แต่ไทยจะโดนเป็นคนแรก ให้ไปเปิดเว็บไซด์ของศาลนี้ดู คือ ศาล อาญาพิเศษของสหประชาชาติ ที่ตั้งไว้ในบอสเนีย เฮอร์เซ โกวีน่า, ราวันด้า ได้ครับ นั่นเป็นการพิจารณาและพิพากษาตาม the Geneva Conventions, 1949 และ Hague Conventions หรือ Regulations, 1899 - 1907 สำหรับสองสนธิสัญญานี้ มีความเกี่ยวพัน หรือเกี่ยวโยงใกล้ชิดกับ Human Rights Law ที่เป็นบ่อเกิดของ Convention Against Corruption, 2003 ฉะนั้นเมื่อเรื่องไปถึงองค์การสหประชาชาติ และ ดำเนินการในการสอบสวนจนเสร็จสิ้นแล้ว คดีจะถูกส่งไปยังคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติเพื่อมีมติว่า จะให้ขึ้นศาลใดในระหว่าง ศาลอาญาระหว่างประเทศ กับ ศาลอาญาพิเศษขององค์การสหประชาชาติ เพราะอำนาจให้ไปขึ้นศาลใด เป็นอำนาจโดยเฉพาะของ คณะมนตรีความมั่นคง ตาม Rome Statue, 1998 และ Charter of United Nations, 1945........................................................ฯ

๓. ประเทศไทย ยังมิได้ให้สัตยาบันต่อ Rome Statues, 1998 แต่ถึงอย่างไร? ก็ตามเมื่อเรื่องไปรอการลงมติของคณะมนตรีความมั่นคง เพื่อสั่ง เมื่อคณะมนตรีความมั่นคงสั่งอย่างไร? ตามกฏบัตรสหประชาชาติ, ๑๙๔๕ แล้ว ย่อมส่งผลไปถึง Rome Statues, 1998 อยู่ดี ทั้งนี้เป็นไป ตามมติของที่ประชุมใหญ่ของรัฐคู่ภาคี Rome Statues, 1998 ที่ไปประชุมกันที่กรุงกัมปาล่า ประเทศเอธิโอเปีย เมื่อปีค.ศ.๒๐๑๐ ศาลอาญาระหว่างประเทศ มิใช่ศาลอาญาของ องค์การสหประชาชาติ แต่เป็นศาล ที่องค์การสหประชาชาติ เป็น Sponsor จัดตั้งให้เกิดขึ้นตามคำร้องของ ชาติคู่ภาคีสมาชิก ขององค์การสหประชาชาติ มีประมาณ ๑๒๐ ชาติคู่ภาคี.
ศาลนานาชาติ มีอำนาจพิจารณาและพิพากษา กรณีในไทย แค่ไหน?

Friday, April 3, 2015

เบื้องหน้า-เบื้องหลัง การกลับคืนของเผด็จการฟาสซิสต์ไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ (เครดิต สนามหลวง2008)




เบื้องหน้า-เบื้องหลัง การกลับคืนของเผด็จการฟาสซิสต์ไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ (เครดิต สนามหลวง2008) เบื้องหน้า-เบื้องหลัง การกลับคืนของเผด็จการฟาสซิสต์ไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ (เครดิต สนามหลวง2008)

ม.44 เหมือน"ปิดประเทศ"สถาปนารัฐเผด็จการ (เครดิต จอม เพชรประดับ + นรินท์พงษ์ จินาภักดิ์)




Published on Apr 3, 2015

นายนรินท์พงษ์ จินาภักดิ์ นายกสมาคมทนายความแห่งประเทศไทย ให้สัมภาษณ์ Thaivoicmedia กรณีที่ พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี ยกเลิกการบังคับใช้กฎอัยการศึกและประกาศใช­้ ม.44 ตามรัฐธรรมนูญชั่วคราว 2557 ว่า ม.44 ทำให้่เจ้าหน้าที่รัฐมีอำนาจกว้างขวางมากย­ิ่งขึ้นในการดำเนินการกับประชาชนที่สงสัยว­่ามีพฤติการณ์ที่เป็นภัยมั่นคงต่อรัฐ ทั้งการจับกุม ตรวจค้น แต่จะเป็นการละเมิดสิทธิมนุษยชน หรือ สร้างความหวาดกลัวให้กับประชาชนมากน้อยแค่­ไหนนัี้นขึ้นอยู่กับ การปฎิบัติของเจ้าหน้าที่ทหารเป็นหลัก และการยังคงให้ พลเรือนขึ้นศาลทหาร อยู่ต่อไป แต่เพิ่มกระบวนการให้ พลเรือนสามารถที่จะอุทรณ์ ฏีกาได้ ก็ทำให้ผู้ต้องหาได้รับความเป็นธรรมระดับห­นึ่งได้ แต่ห่วงว่าทหาร หรือบุคคลที่มาเป็นตุลาการในศาลทหารซึ่งไม­่ได้มาจากกระบวนการทางศาล ไม่จบเนติบัณฑิตมาก่อน จะเข้าใจกระบวนการสร้างความยุติธรรมได้มาก­น้อยแค่ไหน ดังนั้น การใช้ม.44 ที่นายกรัฐมนตรีสามารถใช้อำนาจได้เต็มทั้ง­สามอำนาจนั้น สร้างความเป็นกังวลให้กับนานาประเทศที่เห็­นว่าจะทำให้ประเทศไทยกลายเป็นเผด็จการที่ส­มบูรณ์มากขึ้น แต่ทั้งนี้ก็ต้องดูการปฎิบัติว่าจะเป็นอย่­างนั้นจริงหรือไม่




ม.44 เหมือน"ปิดประเทศ"สถาปนารัฐเผด็จการ (เครดิต จอม เพชรประดับ + นรินท์พงษ์ จินาภักดิ์)

ม.44 เหมือน"ปิดประเทศ"สถาปนารัฐเผด็จการ (เครดิต จอม เพชรประดับ + นรินท์พงษ์ จินาภักดิ์)




Published on Apr 3, 2015

นายนรินท์พงษ์ จินาภักดิ์ นายกสมาคมทนายความแห่งประเทศไทย ให้สัมภาษณ์ Thaivoicmedia กรณีที่ พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี ยกเลิกการบังคับใช้กฎอัยการศึกและประกาศใช­้ ม.44 ตามรัฐธรรมนูญชั่วคราว 2557 ว่า ม.44 ทำให้่เจ้าหน้าที่รัฐมีอำนาจกว้างขวางมากย­ิ่งขึ้นในการดำเนินการกับประชาชนที่สงสัยว­่ามีพฤติการณ์ที่เป็นภัยมั่นคงต่อรัฐ ทั้งการจับกุม ตรวจค้น แต่จะเป็นการละเมิดสิทธิมนุษยชน หรือ สร้างความหวาดกลัวให้กับประชาชนมากน้อยแค่­ไหนนัี้นขึ้นอยู่กับ การปฎิบัติของเจ้าหน้าที่ทหารเป็นหลัก และการยังคงให้ พลเรือนขึ้นศาลทหาร อยู่ต่อไป แต่เพิ่มกระบวนการให้ พลเรือนสามารถที่จะอุทรณ์ ฏีกาได้ ก็ทำให้ผู้ต้องหาได้รับความเป็นธรรมระดับห­นึ่งได้ แต่ห่วงว่าทหาร หรือบุคคลที่มาเป็นตุลาการในศาลทหารซึ่งไม­่ได้มาจากกระบวนการทางศาล ไม่จบเนติบัณฑิตมาก่อน จะเข้าใจกระบวนการสร้างความยุติธรรมได้มาก­น้อยแค่ไหน ดังนั้น การใช้ม.44 ที่นายกรัฐมนตรีสามารถใช้อำนาจได้เต็มทั้ง­สามอำนาจนั้น สร้างความเป็นกังวลให้กับนานาประเทศที่เห็­นว่าจะทำให้ประเทศไทยกลายเป็นเผด็จการที่ส­มบูรณ์มากขึ้น แต่ทั้งนี้ก็ต้องดูการปฎิบัติว่าจะเป็นอย่­างนั้นจริงหรือไม่




ม.44 เหมือน"ปิดประเทศ"สถาปนารัฐเผด็จการ (เครดิต จอม เพชรประดับ + นรินท์พงษ์ จินาภักดิ์)

Thailand: Army Secretly Detaining 17 Muslim Activists Arbitrary Arrests Chill Rights Climate in South



For Immediate Release

Thailand: Army Secretly Detaining 17 Muslim Activists

Arbitrary Arrests Chill Rights Climate in South

(New York, April 4, 2015) – Thai military authorities should immediately confirm the location of 17 student activists who were arbitrarily arrested on April 2, 2015, in Thailand’s southern Narathiwat province, Human Rights Watch said today. The activists should be freed unless they have been charged by a judge with a credible offense.

Soldiers conducted a warrantless search at about 5 a.m. on April 2 at four student dormitories in Muang district of Narathiwat province. They forced at least 17 activists from the network of ethnic Malay Muslim students at Princess of Narathiwat University to give DNA samples and then took them into military custody. Human Rights Watch has learned that the activists are being detained without charge in Pileng, Buket Tanyong, and Chulabhorn Camps in Narathiwat province. The military authorities have provided no explanation for the students’ detention or said when they would be released.

“Arbitrary arrests, secret detention, and unaccountable officials are a recipe for human rights abuses,” said Brad Adams, Asia director at Human Rights Watch. “The use of martial law to detain student activists shows how out of control the Thai military authorities have become.”

The detained activists include Aseng Kilimo, Bahakim Jehmae, Tuanahamad Majeh, Muruwan Blabueteng, Asri Saroheng, Ibroheng Abdi, Sufiyan Doramae, Ismael Jehso, Abdulloh Madeng, Sagariya Samae, Usman Oyu, Saidi Doloh, Tarsimi Madaka, Rosari Yako, Ahmad Yusoh, Albari Aba, and Ridul Sulong.

Human Rights Watch has repeatedly raised serious concerns regarding the use of arbitrary arrest and secret military detention in Thailand’s southern border provinces. Order 3/2558, issued in accordance with section 44 of the interim constitution, provides the military authorities with broad powers and legal immunity to detain people incommunicado without charge in informal places of detention, such as military camps, for seven days. It does not ensure either effective judicial oversight or prompt access to legal counsel and family members.

The risk of enforced disappearances, torture, and other ill-treatment significantly increases when detainees are held incommunicado in unofficial locations and under the control of the military, which lacks training and experience in civilian law enforcement, Human Rights Watch said. Those who committed crimes should be properly charged, but all should be treated according to international human rights standards and due process of law.

The cycle of human rights abuses and impunity contributes to an atmosphere in which Thai security personnel show little regard for human rights and separatist insurgents have committed numerous atrocities. Since January 2004, Thailand’s southern border provinces of Pattani, Yala, and Narathiwat have been the scene of a brutal internal armed conflict that has claimed more than 6,000 lives. Civilians have accounted for approximately 90 percent of those deaths. To date, not a single member of the Thai security forces has been criminally prosecuted for serious rights abuses in the south. Meanwhile, the Pejuang Kemerdekaan Patani insurgents in the loose network of BRN-Coordinate (National Revolution Front-Coordinate) regularly attack both government officials and civilians.

“Violent insurgency is no excuse for the Thai military to resort to summary and abusive measures against the Malay Muslim population,” Adams said. “It’s very worrying that soldiers continue to arrest and detain anyone they want.”

For more Human Rights Watch reporting on Thailand, please visit:
http://www.hrw.org/thailand

For more information, please contact:
In Bangkok, Sunai Phasuk (English and Thai): +32-484-535-186 (mobile); or phasuks@hrw.org. Twitter: @SunaiBKK
In Washington, DC, John Sifton (English): +1-646-479-2499 (mobile); or siftonj@hrw.org Twitter: @johnsifton Thailand: Army Secretly Detaining 17 Muslim Activists Arbitrary Arrests Chill Rights Climate in South

Thailand: Army Secretly Detaining 17 Muslim Activists Arbitrary Arrests Chill Rights Climate in South



For Immediate Release

Thailand: Army Secretly Detaining 17 Muslim Activists

Arbitrary Arrests Chill Rights Climate in South

(New York, April 4, 2015) – Thai military authorities should immediately confirm the location of 17 student activists who were arbitrarily arrested on April 2, 2015, in Thailand’s southern Narathiwat province, Human Rights Watch said today. The activists should be freed unless they have been charged by a judge with a credible offense.

Soldiers conducted a warrantless search at about 5 a.m. on April 2 at four student dormitories in Muang district of Narathiwat province. They forced at least 17 activists from the network of ethnic Malay Muslim students at Princess of Narathiwat University to give DNA samples and then took them into military custody. Human Rights Watch has learned that the activists are being detained without charge in Pileng, Buket Tanyong, and Chulabhorn Camps in Narathiwat province. The military authorities have provided no explanation for the students’ detention or said when they would be released.

“Arbitrary arrests, secret detention, and unaccountable officials are a recipe for human rights abuses,” said Brad Adams, Asia director at Human Rights Watch. “The use of martial law to detain student activists shows how out of control the Thai military authorities have become.”

The detained activists include Aseng Kilimo, Bahakim Jehmae, Tuanahamad Majeh, Muruwan Blabueteng, Asri Saroheng, Ibroheng Abdi, Sufiyan Doramae, Ismael Jehso, Abdulloh Madeng, Sagariya Samae, Usman Oyu, Saidi Doloh, Tarsimi Madaka, Rosari Yako, Ahmad Yusoh, Albari Aba, and Ridul Sulong.

Human Rights Watch has repeatedly raised serious concerns regarding the use of arbitrary arrest and secret military detention in Thailand’s southern border provinces. Order 3/2558, issued in accordance with section 44 of the interim constitution, provides the military authorities with broad powers and legal immunity to detain people incommunicado without charge in informal places of detention, such as military camps, for seven days. It does not ensure either effective judicial oversight or prompt access to legal counsel and family members.

The risk of enforced disappearances, torture, and other ill-treatment significantly increases when detainees are held incommunicado in unofficial locations and under the control of the military, which lacks training and experience in civilian law enforcement, Human Rights Watch said. Those who committed crimes should be properly charged, but all should be treated according to international human rights standards and due process of law.

The cycle of human rights abuses and impunity contributes to an atmosphere in which Thai security personnel show little regard for human rights and separatist insurgents have committed numerous atrocities. Since January 2004, Thailand’s southern border provinces of Pattani, Yala, and Narathiwat have been the scene of a brutal internal armed conflict that has claimed more than 6,000 lives. Civilians have accounted for approximately 90 percent of those deaths. To date, not a single member of the Thai security forces has been criminally prosecuted for serious rights abuses in the south. Meanwhile, the Pejuang Kemerdekaan Patani insurgents in the loose network of BRN-Coordinate (National Revolution Front-Coordinate) regularly attack both government officials and civilians.

“Violent insurgency is no excuse for the Thai military to resort to summary and abusive measures against the Malay Muslim population,” Adams said. “It’s very worrying that soldiers continue to arrest and detain anyone they want.”

For more Human Rights Watch reporting on Thailand, please visit:
http://www.hrw.org/thailand

For more information, please contact:
In Bangkok, Sunai Phasuk (English and Thai): +32-484-535-186 (mobile); or phasuks@hrw.org. Twitter: @SunaiBKK
In Washington, DC, John Sifton (English): +1-646-479-2499 (mobile); or siftonj@hrw.org Twitter: @johnsifton Thailand: Army Secretly Detaining 17 Muslim Activists Arbitrary Arrests Chill Rights Climate in South

เขาลือว่า "พระเทพฯ​ กับ วสิษ เดชกุญชร มีสายเลือดเดียวกัน????????"

เขาลือว่า "พระเทพฯ​ กับ วสิษ เดชกุญชร มีสายเลือดเดียวกัน????????"

ได้ยินอาจารย์สุรชัย บอกว่า มีข่าวลือว่า พระเทพ เป็นลูกที่เกิดจากวสิษฐ เดชกุญชร
ซึ่งสำหรับผม เป็นครั้งแรก  ข่าวลือทำนองนี้กับนายทหารนั้น พอได้ยินอยู่บ้าง

เมื่อได้ยินก็เลยอยากไปพิสูจน์เรื่องหน้าตา (ซึ่งจริง ๆ แล้ว ก็คงพิสูจน์อะไรไม่ได้จริง ๆ เพราะคนหน้าเหมือนแต่อยู่คนละตระกูลหรือสายเลือดมันก็เป็นไปได้)  โดยเอารูปจากเน็ตมาลองเปรียบเทียบกัน  จะให้ตรวจดีเอ็นเอ  ก็คงยาก  อิ ๆ

งั้น เชิญท่านมาทัศนาร่วมกันนะครับ  ว่าเหมือน มีเค้าเหมือน หรือไม่มีเค้า หรือไม่เหมือนเลยครับ























เขาลือว่า "พระเทพฯ​ กับ วสิษ เดชกุญชร มีสายเลือดเดียวกัน????????"

เขาลือว่า "พระเทพฯ​ กับ วสิษ เดชกุญชร มีสายเลือดเดียวกัน????????"

ได้ยินอาจารย์สุรชัย บอกว่า มีข่าวลือว่า พระเทพ เป็นลูกที่เกิดจากวสิษฐ เดชกุญชร
ซึ่งสำหรับผม เป็นครั้งแรก  ข่าวลือทำนองนี้กับนายทหารนั้น พอได้ยินอยู่บ้าง

เมื่อได้ยินก็เลยอยากไปพิสูจน์เรื่องหน้าตา (ซึ่งจริง ๆ แล้ว ก็คงพิสูจน์อะไรไม่ได้จริง ๆ เพราะคนหน้าเหมือนแต่อยู่คนละตระกูลหรือสายเลือดมันก็เป็นไปได้)  โดยเอารูปจากเน็ตมาลองเปรียบเทียบกัน  จะให้ตรวจดีเอ็นเอ  ก็คงยาก  อิ ๆ

งั้น เชิญท่านมาทัศนาร่วมกันนะครับ  ว่าเหมือน มีเค้าเหมือน หรือไม่มีเค้า หรือไม่เหมือนเลยครับ